คุณแม่ควรรู้

อาการสะอีกที่คุณแม่ไม่ควรละเลยถ้าลูกมีอาการสะอึกต่อเนื่อง ไม่ยอมหยุด ข้อสังเกต และวิธีการช่วยให้หยุดสะอึก สรุปเนื้อหาจาก หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต

ทำความเข้าใจ อาการแพ้โปรตีนนมวัวในเด็ก ข้อพึงระวัง และ อาหารทดแทนสำหรับลูก เพื่อป้องกันอาการที่รุนแรงค่ะ เนื้อหาดีๆ จาก หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต

ทำความเข้าใจกับอาการป่วย ที่ได้ยินบ่อยมาก คือ RSV หวัด ในเด็ก ในช่วงหน้าฝนค่ะ ขอบคุณเนื้อหาดีๆ จาก คุณหมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต ค่ะ

ตรวจสอบความปกติ และ ความกังวลของคุณแม่ คุณพ่อ ว่าลูกเราอาจจะมีอาการขาโก่งหรือเปล่า จากเนื้อหา หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต ค่ะ

สีของอึทารก สามารถบอกถึงสุขภาพ และ อาการเจ็บป่วยของลูกได้นะคะ พุงกลม เรียบเรียงข้อมูล จาก คุณหมอ ปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต ค่ะ

เข้าใจอาการกรดไหลย้อน สาเหตุการเกิดโรค กรดไหลย้อนในเด็กเล็ก และ วิธีลดอาการไหลย้อน เรียบเรียง เนื้อหาจาก หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต

ขั้นตอนการช่วยเหลือลูก เมื่อมีอาการติดคอ กลืนของเล่นติดคอ ทำให้ลูกหายใจไม่ออก เรียบเรียงจาก คุณหมอ ปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต

ลูกไม่หายใจ ถือเป็นเหตุการณ์วิกฤติแบบฉุกเฉินค่ะ พุงกลม สรุปเนื้อหา และ ข้อปฎิบัติเบื้องต้นถ้าเราต้องเผชิญกับเหตุการณ์นี้จริงๆ ค่ะ

ข้อมูลเป็นประโยชน์ สำหรับการดูแลลูกช่วงมีน้ำมูก อธิบายเข้าใจง่ายๆ ถึงข้อดีของการล้างจมูก โดย คุณหมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต ค่ะ

รายละเอียดของใช้จำเป็นของเด็กทารกแรกเกิด โดย หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต สำหรับคุณแม่ที่กำลังเตรียมของใช้ และ ทำการบ้านว่าเตรียมคลอดต้องซื้ออะไรบ้าง

การเก็บรักษายา อายุของยา วิธีการป้อนยา ในเด็ก Storage and Giving Medicine to Child ยาแต่ละชนิดนั้นก็จะมีวิธีการเก็บรักษากันคนละแบบ

ปัญหาคลาสสิคสำหรับคุณแม่ คุณพ่อ ที่เจอกันเกือบทุกคนคือ ลูกไม่ยอมกินยา ลูกทานยายาก งอแง ไม่ชอบกินยา วันนี้ พุงกลม มีวิธีช่วยให้ คุณแม่ คุณพ่อ จัดการกับปัญหานี้ได้ดีขึ้นค่ะ ขอบคุณเนื้อหาจาก หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต ค่ะ

การเจ็บป่วยของลูกเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อมีอาการป่วย และ ได้พบกับกุมารแพทย์ แน่นอนว่า เราจะได้ยาจากคุณหมอเพื่อช่วยให้อาการของลูกเราดีขึ้น บทความนี้จะช่วยให้คุณแม่เข้าใจถึงวิธีการจัดเก็บยาของลูกที่ถูกวิธีค่ะ เรียบเรียงเนื้อหามาจากคุณหมอ หมอปัณฑิตา หมอเด็กภูเก็ต เช่นเดิม ค่ะ

คุณพ่อ คุณแม่ มือใหม่ย่อมมีความตื่นตัวมากๆ เวลาเห็นอาการต่างๆ ของลูกน้อยที่ผิดปกติไปจากเดิม ซึ่งอาการบางอย่างอาจเป็นแค่อาการทั่วไป ไม่จำเป็นต้องรีบพาไปพบกุมารแพทย์ทันที พุงกลมรวบรวมเอา อาการปกติทั่วไปที่คุณพ่อคุณแม่ มักตื่นตระหนกเกิน ทำให้เสียเวลาในการเดินทางรีบไปพบคุณหมอมาแบ่งปันกันค่ะ (บทความนี้เป็นความตอนที่ 2 นะคะ)

คุณพ่อ คุณแม่ มือใหม่ย่อมมีความตื่นตัวมากๆ เวลาเห็นอาการต่างๆ ของลูกน้อยที่ผิดปกติไปจากเดิม ซึ่งอาการบางอย่างอาจเป็นแค่อาการทั่วไป ไม่จำเป็นต้องรีบพาไปพบกุมารแพทย์ทันที พุงกลมรวบรวมเอา อาการปกติทั่วไปที่คุณพ่อคุณแม่ มักตื่นตระหนกเกิน ทำให้เสียเวลาในการเดินทางรีบไปพบคุณหมอมาแบ่งปันกันค่ะ

คำถาม: คุณแม่ตั้งครรภ์ อ่อนแอ หรือ มีความเสี่ยงที่จะป่วย จากเชื้อไวรัส โควิด-19 มากกว่าคนทั่วไปหรือไม่?

ทารกจะมีพัฒนาการหลากหลายมากในช่วง 3 เดือนแรก โดยทั่วไปทารกจะมีขั้นตอนของพัฒนาการในช่วงอายุเดือนที่เหมือนๆกัน แต่ พัฒนาการของทารกไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์ที่ตายตัว คุณแม่ คุณพ่อ ควรรู้ว่าลูกจะมีพัฒนาการตามอัตราของตัวเค้าเองค่ะ (ไม่ต้องใจร้อน ไปเร่ง หรือ กระวนกระวาย มาก)

เด็กร้องไห้ เวลาเดิม ซ้ำๆ กัน ในช่วงเย็นของแต่ละวัน เพราะว่าเห็นผี จริงหรือเปล่าคะ? ความเชื่อนี้เป็นที่แพร่หลาย ขนาดเคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ กันเลย... แล้วมันจริงหรือเปล่าหนอ? วันนี้พุงกลมชวน คุณพ่อ คุณแม่ มาทำความรู้จัก "อาการโคลิค" ในเด็กทารก มาเข้าใจถึงสาเหตุ และ วิธีการช่วยผ่อนคลาย ทารกเบื้องต้น กันค่ะ

คำถามนี้คุณแม่มือใหม่ ไปต่อไม่ค่อยถูกค่ะ หากลูกค้าถามมาทางร้านพุงกลม จะถามกลับไปว่า ไลฟ์สไตล์ของคุณแม่เป็นอย่างไร ทำงานนอกบ้าน หรือเลี้ยงอยู่บ้าน เดินทางบ่อยไหม มีประสบการณ์การปั๊มนมมาก่อนหรือเปล่า

ปรุงอาหารด้วยไมโครเวฟอันตรายจริงหรือ

ทำความเข้าใจพฤติกรรมการดูดนิ้วของลูก วิธีการป้องกัน แก้ปัญหา และแยกแยะคุณสมบัติของจุกหลอก และ ยางกัด ขอบคุณเนื้อหาจาก นายแพทย์อนนท์ บริณายกานนท์

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้